วันพุธที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2555

เต๋า มีลักษณะอย่างไร ทุกแง่มุม

   เต๋า มีลักษณะอย่างไร ทุกแง่มุม
                1.เต๋าคืออะไร
เต๋า
ทาง (Wayเส้นทาง” (Pathถนน (Road) หรือวิถี (ทางที่ไร้หนทาง วิถีที่ปราศจากวิถี
ทางโลก
ทางที่และเห็น บรรลุถึงจุดหมายได้
ทางที่ยิ่งใหญ่
มีอยู่จริง ไปไม่ได้ด้วยการเดิน ตัวหนทางนั้นเองเป็นจุดหมาย ตัวเรานั้นคือทางสายนั้น
สมมุติว่าเราโดนมีดบาด           เราสามารถอธิบายได้ไหมว่าเจ็บอย่างไร นอกจากเคยมีประสบการณ์

มันเป็นสิ่งที่เป็น นามธรรม ไม่กินพื้นที่ เป็นอะไรก็ได้ที่อยากเป็น
ทำไมเรามีแฟนหลายคนเพราะเราสงสัยว่าที่มีอยู่ มันดีจริงหรือเปล่า เมื่อถึงจุดอิ่มเราก็ไม่สงสัยแล้ว เราก็จะหยุด ไม่ต้องเดินแต่ถึงที่สุดแล้ว

จุดเริ่มต้นกับสิ้นสุด คือ จุดเดียวกัน ตรงกับปรัชญา ซาร์ต เพราะทุกคนเกิดจากจิตที่ว่างเปล่า
จุดเริ่มต้นกับสิ้นสุด อยู่ที่ ตัวเรา สูงสุดคืนสู่สามัญ
เมื่อเราจบเส้นทางนั้นแล้วเราก็จะมีความสุข



                      2.คุณลักษณะของเต๋า
1เต๋าเป็นสิ่งที่เรียกขานด้วยชื่อไม่ได้ เต๋าไม่มีรูปร่าง ลักษณะอยู่เหนือ ขอบเขต เวลา สถานที่ เต่เรียกชื่อได้เป็นนามธรรม เต๋าของจริงเรียกชื่อไม่ได้แต้เข้าถึงได้ เต๋าอยู่เลยประสาทสัมผัสทั้งไปแต่มีอยู่จริง เช่น เต่ากับกระต่าย กระต่ายถามเต่าว่ารู้จักมะละกอไหมเต่าตอบว่า เหมือน จระเข้ ปลา กุ้ง ไหมกระต่ายบอกว่าไม่เหมือน เต่าจึงบอกว่า มะละกอไม่มีอยู่จริง แต่ที่จริงมันมีอยู่แต่เต่า ไม่เคยเห็น เท่านั้นเอง
2) เต๋าเป็นต้นกำเนิดของสิ่งทั้งปวง มันมีอยู่ของตัวเอง มีก่อนฟ้า ดิน  ความมีในไม่มี เช่น เกลือไปละลายในน้ำ เราไม่เห็นเกลือ แต่รู้ว่ามีอยู่โดยการชิม เมื่อเราต้ม ระเหยไปในอากาศ เรารับรู้ไม่ได้ แต่รู่ว่ามันมีอยู่ ลักษณะจะคล้ายกับโลกแห่งแบบ ของเพลโต คือมันมีอยู่อย่างนั้น
3)เต๋ามีอยู่ทุหนทุกแห่งและทุกสรรพสิ่งก็คือเต๋า ครั้งหนึ่ง ก๋วยจื้อ ได้ถาม จวงจื้อ  สานุศิษย์ของเหลาจื้อว่าสิ่งที่เรียกว่าเต๋านั้นอยู่ที่ไหน  จวงจื้อตอบว่า ไม่มีที่ไหนที่จะไม่มีเต๋าอยู่” เต๋าอยู่ในมด เต๋าอยู่ในก้อนอิฐ เต๋าอยู่ในไร่ เต๋าอยู่ในอุจจาระ  สรุปบทสนทนา เต๋าระบุเมื่อไหร่จะผิดทันที
             3.เต๋าในฐานะกฎธรรมชาติ
                 กฎธรรมชาติที่อยู่ในขั้นพื้นฐานที่สุดกฎหนึ่งคือ กฎแห่งความหมุนกลับ เมื่อสิ่งหนึ่งไปถึงขีดสุดของมันแล้ว มันจะหมุนกลับไปในทิศทางที่ตรงกันข้าม เหมือนลูกตุ้มของนาฬิกา เมื่อแกว่งไปสุดข้างหนึ่งแล้วก็จะแกว่งไปในทิศทางตรงกันข้าม เหลาจื้อกล่าวว่า ความหมุนกลับคือวิถีแห่งการเคลื่อนไหวของเต๋า เช่น เศรษฐกิจเมื่อเจริญเต็มที่แล้ว เมื่อจุดสูงสุดมันก็จะต่ำลง สูงสุดคืนสู่สามัญ
กฎความหมุนกลับ  เหมือนกับหลัก อนิจจัง(กฎไตรลักษณ์ของพุทธ) สามารถอธิบายในเรื่อง ค่านิยม เช่น แฟชั่น นุ่งกระโปรงเอวสูงในมหาวิทยาลัย เดี๋ยวก็เปลี่ยนแฟชั่นไปเรื่อยๆ
                 4.มนุษย์กับการดำเนินชีวิตแบบเต๋า
1) วูเหว่ย การกระทำโดยไม่กระทำ เช่น การทำงานเพื่อหน้าที่ ทำหน้าที่เพื่อหน้าที่ การไม่ทำอะไรที่ขัดกับกฎธรรมชาติหรือเต๋า ไม่ทำอะไรโดยอาการของความเห็นแก่ตัว การกระทำสิ่งต่าง ๆ อย่างเป็นปกติธรรมดาโดยปราศจากการยึดมั่นในผลของการกระทำ
2) เต๋อ แปลว่า พลังอำนาจ หรือ คุณธรรม ข้อความตอนหนึ่งในคัมภีร์เต๋าเต๋อจิง กล่าวว่า ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นของเต๋าและมีคุณค่าของเต๋อ เต๋าและเต๋อจึงเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดที่เหลาจื้อได้พูดถึง
เต๋อจึงเป็นได้ทั้งพลังชีวิต และ คุณธรรม  เช่น ถ้าพูดความจริงแล้วเกิดสงคราม ก็ต้องพูด ถ้าพูดโกหกแล้วไม่เกิดสงคราม ก็ไม่ใช่สิ่งที่ดี เหมือนกับค้านท์ แต่มีความยืดหยุ่นกว่า
                 5.หลักจริยธรรม
1)รู้จักตนเองชนะใจตนเอง=ชนะคนทั้งโลก                                                                                            
 ชนะกิเลสเป็นการชนะอย่างถาวร
รู้จักตนเอง=รู้โลก
2)รู้จักพอ  ชื่อเสียงกับตัวเอง ตัวเองกับสมบัติ   เราจะเลือกอะไร    รักษาชีวิตกับเสียทุกอย่าง  รักษาทุกอย่างกับเสียชีวิต
             จุดอ่อนของเต๋า
1.เต๋ามุ่งสู่ธรรมชาติ แต่คนส่วนมากไม่เข้าใจเต๋า
2.มุ่งสู่ธรรมชาติ คนเข้าใจผิดเป็นการสันโดษ ทำให้ประเทศชาติไม่พัฒนา



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น