วันพฤหัสบดีที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2556

บรรณานุกรม


กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ. (2527). คู่มือบรรพชาอุปสมบท ฉบับกรมการศาสนา.      กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา.
________. (2525). คู่มือบรรพชาอุปสมบท ฉบับกรมการศาสนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา.
คูณ โทขันธ์. (2545). พุทธศาสนากับสังคมและวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.  
จุฬาลักษณ์ สีดาคุณ. (2556). ประเพณีไทย. วันที่ค้นข้อมูล 7 กรกฎาคม 2556, เข้าถึงได้จาก     http://personal.swu.ac.th.
ธวัช ปุณโณทก. (2522). ความเชื่อพื้นบ้านอันสัมพันธ์กับวิถีชีวิตในสังคมอีสาน ในวัฒนธรรมพื้นบ้าน:       คติความเชื่อ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชำเลือง วุฒิจันทร์ และคณะ. (2525). คู่มือการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน. สำนักงาน เสริมสร้าง        เอกลักษณ์แห่งชาติ.กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน.
ประเทือง คล้ายสุบรรณ. (2531). วัฒนธรรมพื้นบ้าน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เคล็ดไทย.
ประสาท หลักศิลา. (2520). ข้อคิดเรื่องพิธีกรรมมิตรครู. กรุงเทพฯ: แพร่วิทยา.
ปรีชา นุ่นสุข. (2528). ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมประเพณีไทย. นครศรีธรรมราช: ศูนย์วัฒนธรรม       ภาคใต้ วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช.
แปลก สนธิรักษ์. (2515). พิธีกรรม และ ประเพณี. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ ไทยวัฒนา         พานิช   .
ดนัย สิทธิเจริญ. (2535). สาระทางการศึกษาในกระบวนการส่างลองของชาวไทยใหญ่ในจังหวัด  แม่ฮ่องสอน. สาขาวิชาการศึกษานอกระบบ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พระครูปลัดชินกร แก้วนิล (จริยเมธี). (2550). การเปลี่ยนแปลงความหมายและคุณค่าของปอยส่าง         ลองในสังคมไทยใหญ่ปัจจุบัน. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาพุทธศาสน         ศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย,   มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พระครูพุทธศาสน์โศภณ (แคล้ว สุสํวุโต). (2530). การบรรพชา อุปสมบท. กรุงเทพฯ : การศาสนา.พระครูอรุณธรรมรังสี. (2539). มนต์พิธีแปล. กรุงเทพฯ : อักษรสมัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2543). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 9.           กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (..ปยุตฺโต). (2553). สอนนาค-สอนฑิต ชีวิตพระ-ชีวิตชาวพุทธ. พิมพ์ครั้งที่          13. กรุงเทพฯ: บริษัทธรรมสารจำกัด.
พระมหาหรรษา นิธิบุณยากร. (2545). วิกฤติพุทธศาสนา: ศึกษากรณีการบรรพชาเป็นสามเณรใน ประเทศไทย (2523 - 2543). วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาพระพุทธ                 ศาสนศึกษา, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พระราชวิสุทธิเวที (บุญมา คุณสมฺปนฺโน ป.9). (2518). ระเบียบปฏิบัติของชาวพุทธ. กรุงเทพฯ: . สมบูรณ์ การพิมพ์.
พระสรพงษ์ สอนทวี. (2554). สภาพแวดล้อมทางบ้าน วัด โรงเรียน และลักษณะทางจิตที่เกี่ยวข้อง         กับการปรับตัวของสามเณรในกลุ่มโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา.หลักสูตร     ปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์,  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พระสวัสดิ์ เฉิดฉิ้ม. (2548). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปรับตัวของสามเณร ในโรงเรียนพระปริยัติธรรม        แผนก   สามัญศึกษา. หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาจิตวิทยาชุมชน,     มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พระโสภณคณาภรณ์ (ระแบบ ฐิตญาโณ). (2528) พระพุทธศาสนาปริทรรศน์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ มหามกุฏราชวิทยาลัย.
พระเอกชัย พัฒนะสิงห์. (2550). ความเชื่อ ค่านิยม ความคาดหวัง และเจตคติของชาวพุทธที่มีต่อการ      บรรพชาอุปสมบทตามประเพณีไทยในพระพุทธศาสนาในอำเภอเมืองจังหวัดขอนแก่น.         ปริญญา การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
พุทธทาสภิกขุ. (2549). บวชทำไม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สุขภาพใจ.
ภารดี มหาขันธ์. (2532). พื้นฐานอารยธรรมไทย. กรุงเทพฯ: โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์ จำกัด.
ภิญโญ จิตต์ธรรม. (2522). ขนบธรรมเนียมประเพณี. สงขลา : มงคลการพิมพ์.
มณี พยอมยงค์. (2530). ความเชื่อของคนไทยใน วัฒนธรรมพื้นบ้าน : คติความเชื่อ. กรุงเทพฯ :             จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทวีศักดิ์ ใหม่ประยูร. (2546). การพัฒนาจริยธรรมเยาชนด้วยการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน ศึกษา      กรณีวัดสมศรี บ้านโคกสี ตำบลบ้านค้อ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น. หลักสูตรปริญญา       ศิลปะศาสตร มหาบัณฑิต, สาขาไทยศึกษาเพื่อการพัฒนา, สถาบันราชภัฏเลย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2524). พจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา อังกฤษ-ไทย. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คพับลิเดชั่นส์          จำกัด.
วิชาภรณ์ แสงมณี และประเสริฐ ลีลานันท์. (2525). ประเพณีและกฎหมาย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์         เมืองสยาม.
สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2551). ไทใหญ่ ความเป็นใหญ่ในชาติพันธุ์: เชียงใหม่.
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. (2539). สารานุกรมพระพุทธศาสนา ประมวล       จากพระนิพนธ์. พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สมัย สุทธิธรรม. (2531). ปอยส่างลอง. กรุงเทพฯ: คุรุสภา.
สริวัฒน์ คำวันสา. (2543). ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์         ราชวิทยาลัย.
สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ. (2542). กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคาร        ไทยพานิชย์.
สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดแม่ฮ่องสอน. (2549). ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมจังหวัดแม่ฮ่องสอน.
สุชีพ ปุญญานุภาพ. (2514). พจนานุกรมศัพท์พระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เฟื่องอักษร.
________. (2539). พระไตรปิฎกสำหรับประชาชน. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การ      ศาสนา.
พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระวินัยปิฎก มหาวรรค ภาค         1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สุเมธ เมธาวิทยกุล. (2532). สังกัปพิธีกรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
สุนทรียา สุนทรวิภาต. (2529). ความสำคัญของการบวชในพระพุทธศาสนาที่มีผลต่อสังคมไทยใน ปัจจุบัน: ศึกษาเฉพาะกรณีในกรุงเทพมหานครและจังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์          อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาศาสนาเปรียบเทียบ, มหาวิทยาลัยมหิดล.
เสถียร โกเศศ. (2524). วัฒนธรรมเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: บรรณาคาร.
เสถียรพงษ์ วรรณปก. (2541). สามเณร : เหล่ากอแห่งสมณะ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ         ราชวิทยาลัย.
เสาวลักษณ์ อนันตศานต์. (2517). วรรณกรรมของไทย เรื่อง ขุนช้าง ขุนแผน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์         การศาสนา.
องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งยาว. (2556). ข้อมูลทั่วไปตำบลทุ่งยาว. วันที่ค้นข้อมูล 2 เมษายน 2556,      เข้าถึงได้จาก. http://www.tambol.com/xyz/intro1.asp.
อมรา พงศาพิชญ์. (2533). ความเชื่อและศาสนาในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์     มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
อุทัย หิรัญโต. (2526). สารานุกรมศัพท์สังคมวิทยา-มานุษยวิทยา. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น